วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 19

วันอาทิตย์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554

สอบ สาธิตการสอนทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 18







วันพฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554

อาจารย์สอนเกี่ยวกับขอบข่ายทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยมีการยกตัวอย่างบนกระดาน เเละมีการยกมือตอบคำถามในชั้นเรียน









บันทึกครั้งที่ 17







วันพฤหัสบดี ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554


วิเคราะห์สื่อเกมการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยศึกษาผลงานของตนเองและของ

เพื่อนๆในห้อง











บันทึกครั้งที่ 16

วันพฤหัสบดี ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554

วันนี้อาจารย์จินตนาสอนเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง การจัดกิจกรรมศิลปะโดยการเชื่อมโยงกับคณิตศสาตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย....
อาจารย์มีรูปแบบการสอนเป็น Powerpoint นำเสนอภาพต่างๆ
ให้นักศึกษาได้เห็นถึงการจัดกิจกรรมต่างๆอาทิ เช่นการนำอุปกรณ์ต่างๆมาปั้มให้เกิดเป็นรูปทรงเรขาคณิตและต่อเติมภาพ
อุปกรณ์ เช่น-เหรียญ,หนังยาง,ฝาขวดน้ำดินสอ,ปากแก้ว,ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม-ไม้บรรทัด,แปรงลบกระดาน,ยางลบ,ตราปั้ม ที่มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม-และรูปทรงอื่นๆ เช่นใบไม้,ดอกไม้,ไม้ไอศกรีม,ฝาจีบน้ำอัดลม,เชือก,หลอดฯลฯเป็นต้น
การสานคือการนำกระดาษมาตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาวผืนผ้าในลักษณะที่เป็นยาวๆเท่าๆกันแล้วนำมาสานขึ้น-ลงการพับ

บันทึกครั้งที่ 15

วันพฤหัสบดี ที่ 27 มกราคม 2554

อาจารย์ให้นักศึกษาเเบ่งกลุ่มเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน

-คิดหน่วยการเรียนรู้ ทำMind map
-การใช้ขอบข่ายของคณิตศาสตร์
-เขียนเเผนการจัดประสบการณ์ 4 วัน โดยสอดเเทรกกระบวนการทางคณิตศาสตร์
-เขียนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม

บันทึกครั้งที่ 14

วันพฤหัสบดี ที่ 20 มกราคม 2554

เรื่องคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็นขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้างรูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้างที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้าค่าของเงินความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลาอุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่นมาตรฐานการวัดในระบบเมตริก-คำศัพท์ที่เด็กควรทราบระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน- การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก

การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเช่นเพลงนกกระจิ๊บนั้นนกบินมาลิบลิบ นกกระจิ๊บ 1 2 3 4 5อีกฝูงบินล่องลอยมา 7 8 9 10

วันเสาร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 13

วันเสาร์ ที่ 15 มกราคม 2554

(นัดชดเชยจากการเรียนในวันปกติ)

อาจารย์ทบทวบต่อ
ความรู้ :
เรื่อง
ความหมายด้านคณิตศาสตร์ตามหลักเพียเจต์
  • ความรู้ทางด้านกายภาพ
  • ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย

  • การนับ
  • ตัวเลข
  • การจับคู่
  • การคำนวณ
  • การเปรียบเทียบ
  • การจัดลำดับ
  • รูปทรงเเละเนื้อที่
  • การวัด

หลักการสอนคณิตศาสตร์เเก่เด็กปฐมวัย

สอดเเทรกความคิกเห็น :

การมีส่วนร่วมในบ้าน การให้ความรู้กับผู้ปกครอง เป็นจุลสาร สานสัมพันธ์ เเบบกิจกรรม เเบบงานให้เด็กกลับไปทำกับผู้ปกครอง ทำให้เกิดองคืความรู้ เพราะคณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา

เพลงจะสอดเเทรก เรียงลำดับกิจกรรม , การนับ เดือน วันในหนึ่งสัปดาห์ , เครื่องมือ

เพลง....สวัสดียามเช้า

ตื่นเช้าเเปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำมาเเต่ตัว

กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน

สวัสดีคุณเเม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน

หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นหล่า หลั่น ลันลา

หลั่นล้า หลั่นล้า

เพลง...สวัสดีคุณครู

สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน

ยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

เพลง...หนึ่งปีมีสิบสองเดือน

หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น

หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ

พฤหัส ศุกร์ เสาร์

เพลง....เข้าเเถว

เข้าเเถว เข้าเเถว อย่าล้ำเเนวยืนเรียงกัน

อย่ามัวเเชเชือนดินตามเพื่อนทัน ระวังเดินชนกันเข้าเเถวพลันว่องไว

เพลง...จัดเเถว

สองมือเราชูตรง เเล้วเอาลงมาเสมอกันกับบ่า

ต่อไปย้ายไปข้างหน้า เเล้วเอาลงมาอยู่ใท่ยืนตรง

เพลง...ซ้าย -ขวา

ยืนให้ตรงก้มหัวลงตบมือเผละ

เเขนซ้ายอยู่ไหนหันตัวไปทางนั้นเเหละ

ได้เวลาตื้นนอนหรือยังนะ ?

มันยังมืดตึ๊ดตื๋ออยู่เลย...ต๊องหน่อง

พี่ชายฉัน ตื่นนอนหรือยังเอ่ย ?

(เวลา , การคิดอย่างมีเหตุผล)

รับประทานอาหารเช้า / เเละช่วยให้อาหารเเมว

ต้องไม่ให้มากเกินไป / พอหรือยังนะ ?

(การคาดคะเนปริมาณ,การเปรียบเทียบ)

จัดเก็บเสื้อผ้าเเละใส่ตู้ให้ถูกที่

(การจัดประเภทการจับคู่เเละการตัดสินใจ)

พาต๊องโหน่งไปโรงเรียน / เดินไปที่มุมถนน

เเล้วข้ามที่สัญญาณไฟ

(ทิศทาง,ขนาดเเละเงิน)

จัดเก็บของ /อะไรต้องใส่ช่องเเช่เเข็งบ้าง

มะเขือเทศเก็บที่ไหนดี

(การจัดประเภท)

ดูโทรทัศน์เเล้วเล่นตุ๊กตาหมีเเล้วเล่นจิ๊กซอว์

จนถึงเวลาอาหาร

(การนับ , ขนาด , รูปทรง , เวลา)

หลังอาหารกลางวัน / เราไปสวนสาธารณะ

เล่นเเยกประภทใบไม้ / นับจำนวนเป็ด

เตะลูกบอล / มองเวลา

(การจัดประเภท , การนับ , รูปทรง)